ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    บทความคณิตศาสตร์

    ลำดับตอนที่ #93 : ตัวเลขบาบิโลน

    • เนื้อหานิยายตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 3.57K
      11
      15 ส.ค. 52

                เมื่อประมาณ 3,000 ปีก่อนคริสต์ศักราช ประเทศบาบิโลนเนียตั้งอยู่ทาง ตะวันออกของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน       ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของประเทศซีเรียและ เลบานอน ในกลางศตวรรษที่ 19 นักโบราณคดีได้ขุดพบแผ่นอิฐมากกว่าห้าหมื่น แผ่น ใกล้ๆ กับเมือง      นิปเปอร์ และได้นำแผ่นอิฐเหล่านี้ไปเก็บไว้ใน พิพิธภัณฑ์ใหญ่ๆ ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ และ กรุงเบอร์ลิน      ประเทศเยอรมนี รวมทั้งสถานที่แสดงวัตถุโบราณที่เยล โคลัม เบียและที่มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนียในสหรัฐอเมริกา จากแผ่นอิฐทำให้ทราบ      เรื่องราวของชาวบาบิโลน

                          ความเจริญ (civilisation) ของ Babylonian ใน Mesopotamia ได้ถูกนำมาแทนที่ความเจริญของ Sumerian และ Akkadian โดย      จะพบ จากเบื้องหลังประวัติศาสตร์และเหตุการณ์เหล่านี้ ซึ่งความเจริญจะรวมถึงคณิตศาสตร์ของ Babylonian ด้วย บางครั้งอาจกล่าวว่า      ระบบจำนวนตัวเลข Babylonians ได้ตกทอดความคิดมาจาก  Sumerians และ Akkadians

                  จากระบบตัวเลขนี้พบว่ามีพื้นฐานมาจากเลขฐาน 60 ที่รียกว่าระบบ sexagesimaการบันทึกลงบนดินเหนียว เรียกว่า Cuneiform

                     ในรูปแบบสัญลักษณ์ดั้งเดิมสำหรับ 1 และ 60 จะเขียนแตกต่างกัน ดังนี้ 1    60    ระยะเวลาต่อมาจำนวนเละcuneiform       คือ 1 และ 60 โดยทั้งคู่จะถูกแทนค่าด้วยรูปลิ่ม (wedge)
     
                        บางครั้งค่าจะระบุในตำแหน่งของลิ่มที่ตอกลงบนดินเหนียว และบางครั้งมาจากสภาพแวดล้อมของระบบตัวเลขเอง
    60 10 10 10

                      

            ทุก ๆ ยกกำลังของ 60 จะแสดงโดย ลิ่ม 1 ตัว และทุก 10 ครั้ง ของยกกำลัง 60  จะแทนด้วยลิ่มรูปตัว L  ซึ่งต่อมาได้ใช้สัญลักษณ์        และ      เพื่อใช้ในการแสดงค่าเศษส่วน (fraction) เช่น

      = 1/60 หรือ 1/60หรือ 60, 60, 1

    = 1, 60, 3,600, …   1 x 60 (เมื่อ n = 0, 1, 2, ...)

      = 10/60 หรือ 10/60หรือ 10 x 60, 10 x 60, (เมื่อ n = 0, 1, 2, ...)

    ตัวอย่าง
        

     

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×