ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    บทความคณิตศาสตร์

    ลำดับตอนที่ #62 : อัตราส่วนตรีโกณมิติ

    • เนื้อหานิยายตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 654
      0
      14 มิ.ย. 52

    อัตราส่วนตรีโกณมิติ

    @@ ความเป็นมา:เมื่อ 640-546 ปี ก่อนครีสต์ศักราช ทาเรส (thales)คำนวณ

        หาความสูง ของพีรามิด ในประเทศอียิปต์โดยอาศัยเงา วิธีหนึ่งที่ทาเรสใช้คือ

        คำนวณความสูงของพีรามิดจากความยาวของเงาของพีรามิด  ในขณะที่เงา

        ของเขามีความยาวเท่ากับความสูงของเขาเอง   อีกวิธีหนึ่งที่ทาเรสใช้คำนวณ

        ความสูงของพีรามิดคือ  การเปรียบเทียบความยาวของเงาของพีรามิดกับความ

        ยาวของเงาของไม้(ไม้ที่ทราบความยาว ถ้าสมัยนี้ก็คือไม้เมตรนั่นเอง)  โดย

        อาศัยรูปสามเหลี่ยมคล้าย   ซึ่งก็คือ  อัตราส่วนตรีโกณมิติที่เรียกว่า แทนเจนต์

      (tangent)  นั่นเอง

     1.  สมบัติของสามเหลี่ยมคล้าย

         -  ถ้ารูปสามเหลี่ยมสองรูป  มีมุมซึ่งมีขนาดเท่ากันสามคู่แล้ว รูปสาม

            เหลี่ยมสองรูปนั้นจะคล้ายกัน และถ้าสามเหลี่ยมคู่ใดคล้ายกันแล้ว

            อัตราส่วนของความยาวของด้านคู่ที่อยู่ตรงข้ามกับมุมคู่ที่มีขนาดเท่ากัน

            จะเท่ากันทั้งสามอัตราส่วนดังนี้.-

       รูปที่1    รูปที่ 2

         @@  กำหนดให้รูปสามเหลี่ยม  ABC  และรูปสามเหลี่ยม  DEF ข้างบนมี

            -  B C = E F  ,   A B = D E และ  A C = D F

            - กำหนดให้  a , b , c , x , y และ z แทนความยาวของด้านของรูป

              สามเหลี่ยม        จะได้   ABC ~ DEF

               ->  ดังนั้น  = =

               -> หรือ    =  =

    - เรามาเลือกพิจารณาอัตราส่วนของมุมที่มีขนาดเท่ากันคือ

           ->   มุม   A ของ รูปที่1 และมุม D ของ รูปที่2  คือ

           ->   จาก     เราใช้สมบัติอัตราส่วนที่เท่ากันจะได้  az = cx

                                                (โดยการใช้การคูณไขว้)

     จะได้ว่า   ดูรูปข้างบนประกอบ (ถ้ายังไม่เข้าใจกลับไปดูเรื่องอัตราส่วนที่เท่ากันที่นี่ค่ะ)

      -
     อัตราส่วนของความยาวของด้านคู่ที่อยู่ตรงข้ามกับมุมคู่ที่มีขนาดเท่ากัน

            จะเท่ากันทั้งสามอัตราส่วนดังนี้ (ดูรูปข้างบนประกอบไปด้วย)

      1  อัตราส่วนมุม A  ในสามเหลี่ยม ABC กับมุม D ในสามเหลี่ยม  DEF จะได้.-

            ->       
     

      2. อัตราส่วนมุม B  ในสามเหลี่ยม ABC กับมุม E ในสามเหลี่ยม  DEF จะได้.-

            ->      

      3. อัตราส่วนมุม E  ในสามเหลี่ยม ABC กับมุม F ในสามเหลี่ยม  DEF จะได้.-

            ->        

    @@@ จึงสรุปได้ว่า  อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมที่เท่ากัน  จะมีค่าเท่ากันเสมอ

    แบบฝึก ถ้า PQM เป็นสามเหลี่ยมอีกรูปหนึ่ง ซึ่งคล้ายกับสามเหลี่ยม ABC ดังรูป
     

                    

       -> กำหนดให้  a , b , c , p , q และ m แทนความยาวของด้านของรูป

          สามเหลี่ยมทั้งสอง  และมุม A  เท่ากับมุม P   มุม  B  เท่ากับมุม Q

          มุม C เท่ากับมุม M      จะได้   ABC ~ PQM
      
    -> จงหาว่า   ถูกไหมถ้าไม่ย้อนกลับไปเริ่มต้นใหม่ ,   ถูกไหมถ้าไม่ย้อนกลับไปเริ่มต้นใหม่ จะเท่ากับ  อัตราส่วนใดของสามเหลี่ยม  PQM

     1) อัตราส่วนมุม A ในสามเหลี่ยม ABC กับมุม P ในสามเหลี่ยม  PQM จะได้.- 
                        
     
                  
    ได้
    =»    
               
             
     
    ถูกไหมถ้าไม่ย้อนกลับไปเริ่มต้นใหม่

     2) อัตราส่วนมุม B ในสามเหลี่ยม ABC กับมุม Q ในสามเหลี่ยม  PQM จะได้.- 

                 ได้ =»   
                        
     

      3) อัตราส่วนมุม C  ในสามเหลี่ยม ABC กับมุม M ในสามเหลี่ยม PQM จะได้.- 

                 ได้ =»   
                        
     


      @@- สำหรับระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นนี้จะได้ศึกษาตรีโกณมิติ  โดยใช้สาม

        เหลี่ยมมุมฉากเท่านั้น

      - ต่อไปจะพิจารณากรณีที่เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากจากรูปข้างล่างนี้(ซึ่งจะเป็น

          กรณีเดียวกับที่กล่าวมาแล้วข้างบนแต่ข้างบนไม่ได้เป็นสามเหลี่ยมมุมฉาก)

         
                          

        - กำหนดให้  a , b , c , 2a , 2b และ 2c แทนความยาวของด้านของรูป

          สามเหลี่ยมทั้งสอง  และมุม A  เท่ากับมุม X   มุม  B  เท่ากับมุม Y

          มุม C เท่ากับมุม Z      จะได้   ABC ~ XYZ

      @@  เราจึงสรุปได้ว่า :-

    1.อัตราส่วนมุม A= ใน  ABC แล้ว อัตราส่วนมุม  X =  ใน XYZ
       
    -> เพราะฉะนั้น อัตราส่วนมุม  X     ใน XYZ (เอา 2 ไปหารทั้งเศษและส่วน)
     
    2. อัตราส่วนมุม  A= ใน ABC แล้ว  อัตราส่วนมุม  X ใน XYZ
     
     
    -> เพราะฉะนั้น อัตราส่วนมุมX  =      ใน  XYZ(เอา 2 ไปหารทั้งเศษและส่วน)

      3. อัตราส่วนมุม A= ใน ABC แล้ว อัตราส่วนมุม X =  ใน XYZ
      
    ->  เพราะฉะนั้น อัตราส่วนมุม X  =     ใน   XYZ(เอา 2 ไปหารทั้งเศษและส่วน)

     @@@ จึงสรุปได้ว่า  อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมที่เท่ากัน  จะมีค่าเท่ากันเสมอ

    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×