ตั้งค่าการอ่าน

ค่าเริ่มต้น

  • เลื่อนอัตโนมัติ
    มหิดล กาญจนบุรี

    ลำดับตอนที่ #5 : แนะนำสาขาวิทยาศาสตร์การเกษตร

    • เนื้อหานิยายตอนนี้เปิดให้อ่าน
    • 2.31K
      0
      27 ก.พ. 50


          โครงสร้างหลักสูตร

          1. จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร
    ไม่น้อยกว่า 141 หน่วยกิต

          2. โครงสร้างหลักสูตร
    1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 41 หน่วยกิต
         - กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 3 หน่วยกิต
         - กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 3 หน่วยกิต
         - กลุ่มวิชาการบริหารจัดการ 3 หน่วยกิต
         - กลุ่มวิชาพลศึกษาและดนตรี 2 หน่วยกิต
         - กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ 12 หน่วยกิต
         - กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 18 หน่วยกิต
    2) หมวดวิชาเฉพาะ 94 หน่วยกิต
         - กลุ่มวิชาแกน 40 หน่วยกิต
         - กลุ่มวิชาเอกบังคับ 39 หน่วยกิต
         - กลุ่มวิชาเอกเลือก หรือ กลุ่มวิชาโท 15 หน่วยกิต
    3) หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
    รวม 141 หน่วยกิต
          3. รายวิชาในหลักสูตร
                3.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
    หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
                     - กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์
     สคสค145  สังคมศาสตร์บูรณาการ 3(3-0)

                     - กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์
     สคมน123  มนุษยศาสตร์บูรณาการ 1 3(3-0)

                     - กลุ่มวิชาการบริหารจัดการ
     กจสว101  การบริหารและการจัดการทั่วไป 3(3-0)

                     - กลุ่มวิชาพลศึกษาและดนตรี
     วศสว101  ดนตรีวิจักษ์ 2(1-2)
     วศสว102  ขับร้องประสานเสียง 1(0-2)
     วศสว104  ดนตรีไทยพื้นฐาน 1(0-2)
     สมศษ125  กิจกรรมพลศึกษา-วอลเล่ย์บอล 1(0-2)
     สมศษ126  กิจกรรมพลศึกษา-เปตอง 1(0-2)

                     - กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ
     วทภษ131  ภาษาอังกฤษระดับอุดมศึกษาขั้นพื้นฐาน 1 3(2-2)
     วทภษ132  ภาษาอังกฤษระดับอุดมศึกษาขั้นพื้นฐาน 2 3(2-2)
     วทภษ231  ภาษาอังกฤษระดับอุดมศึกษาขั้นกลาง 1 3(2-2)
     วทภษ232  ภาษาอังกฤษระดับอุดมศึกษาขั้นกลาง 2 3(2-2)

                     - กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
     วทคม103  เคมีทั่วไป 1 3(3-0)
     วทคม108  ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 1 1(0-3)
     วทฟส151  ฟิสิกส์ทั่วไป 1
     วทฟส110  ปฏิบัติการฟิสิกส์ 1
     วทคณ113  แคลคูลัส
     วทชว101  หลักชีววิทยา 1
     วทชว102  ปฏิบัติการชีววิทยา 1
     วทคพ155  การประยุกต์ใช้งานของเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์

                3.2 หมวดวิชาเฉพาะ
                     - กลุ่มวิชาแกน
     วทคม104  เคมีทั่วไป 2 3(3-0)
     วทคม109  ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 2 1(0-3)
     วทคม121  เคมีอินทรีย์เบี้องต้น 3(3-0)
     วทคม128  ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 1(0-3)
     วทคม211  เคมีวิเคราะห์ 1 3(3-0)
     วทคม218  ปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์ 1 2(0-6)
     วทฟส152  ฟิสิกส์ทั่วไป 2 3(3-0)
     วทฟส120  ปฏิบัติการฟิสิกส์ 2 1(0-3)
     วทคณ114  สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ 3(3-0)
     วทคณ150  สถิติเบื้องต้น 2(2-0)
     วทคณ222  สมการเชิงอนุพันธ์ 2(2-0)
     วทชว103  หลักชีววิทยา 2 3(3-0)
     วทชว104  ปฏิบัติการชีววิทยา 2 1(0-3)
     วทชค203  ชีวเคมีพื้นฐาน 3(3-0)
     วทชค204  ปฏิบัติการชีวเคมีพื้นฐาน 1(0-3)
     วททช251  วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารขั้นแนะนำ 2(2-0)
     วททช303  จุลชีววิทยาและพันธุศาสตร์ทั่วไป 6(4-6)

                     - กลุ่มวิชาเอกบังคับ
       วทวก211  วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการผลิตพืชเศรษฐกิจ 3(2-3)
     *วทวก221  วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการผลิตสัตว์เศรษฐกิจ 3(2-3)
     *วทวก312  วิทยาการพืชอุตสาหกรรมเพื่อพลังงาน 3(2-3)
     *วทวก313  สรีรวิทยาการผลิตพืช 3(2-3)
     *วทวก314  วิทยาการขยายพันธุ์พืชและเมล็ดพันธุ์ 3(2-3)
     *วทวก331  วิทยาศาสตร์ทางดิน 3(2-3)
       วทคณ382  การวางแผนการทดลอง 3(3-0)
     *วทวก401  หลักการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน 3(2-3)
     *วทวก411  การปรับปรุงพันธุ์พืช 3(2-3)
     *วทวก457  วิทยาการและเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว 3(2-3)
       วทวก462  ฝึกงาน 1(0-3)
       วทวก476  เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร 3(2-3)
       วทวก487  สัมมนา 1(1-0)
       วทวก498  โครงการพิเศษ / การฝึกอาชีพ 4(0-12)
       * หมายถึง อาจารย์พิเศษ / อัตราใหม่

                     - กลุ่มวิชาเอกเลือก
                      ให้เลือกเรียนรายวิชาต่อไปนี้หรือรายวิชาอื่น ๆ ตามที่ภาควิชากำหนด เพิ่มเติมภายหลัง ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
       วทวก402  ธุรกิจการเกษตร 3(3-0)
       วทวก403  หลักการโรคพืชและการป้องกัน 3(2-3)
     วทวก404*  การจัดการแมลงที่มีประโยชน์ทางเศรษฐกิจ 3(2-3)
     วทวก405*  ภูมิปัญญาไทยทางการเกษตร 3(2-3)
     วทวก412  ไม้ดอกไม้ประดับและการจัดสวน 3(2-3)
     วทวก413  การผลิตเห็ด 3(2-3)
     วทวก414  การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเพื่อการเกษตร 3(2-3)
     วทวก415*  ระบบการทำฟาร์มแบบยั่งยืน 3(3-0)
     วทวก416*  เทคโนโลยีการปลูกพืชไร้ดิน 3(2-3)
     วทวก452*  เทคโนโลยีการหมักและกลั่นแอลกอฮอล์เพื่ออาหารและพลังงาน 3(2-3)
       * หมายถึง อาจารย์พิเศษ / อัตราใหม่

                     - กลุ่มวิชาโท ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
                      นักศึกษาเลือกศึกษาในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งที่เปิดสอนใน ภาควิชาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้แก่ เทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีชีวภาพ เคมี ชีววิทยา พฤกษศาสตร์ และ คอมพิวเตอร์ หรือวิชาอื่นๆ นอกเหนือจากนี้ให้อยู่ในดุลพินิจของภาควิชาให้ครบ ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต โดยเป็นไปตามข้อกำหนดและเงื่อนไขของหลักสูตร วิชาโทนั้น นักศึกษาที่เลือกสาขาใดเป็นวิชาโท จะต้องแจ้งให้ภาควิชาทราบล่วงหน้า ในปีการศึกษาชั้นปีที่ 3 เช่น

                           (1) วิชาโทสาขาเทคโนโลยีการอาหาร
     วททช313  วิศวกรรมอาหาร 3(3-0)
     วททช325  การวิเคราะห์อาหาร 4(3-3)
     วททช335  การแปรรูปอาหาร 1 4(3-3)
     วททช336  การแปรรูปอาหาร 2 4(3-3)
     วททช337  เคมีอาหาร 1 4(3-3)
     วททช338  เคมีอาหาร 2 3(3-0)
     วททช339  หลักการควบคุมและการประกันคุณภาพ 3(3-0)

                           (2) วิชาโทสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ
     วททช305  เทคโนโลยีชีวภาพอุตสาหกรรม 4(3-1)
     วททช351  สุขลักษณะและสุขาภิบาลในการผลิตอาหาร 3(3-0)
     วททช407  เทคโนโลยีชีวภาพทางพืช 3(2-1)
     วททช456  เทคโนโลยีการบรรจุ 3(3-0)
     วททช457  เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว 3(3-0)
     วททช458*  การบริหารทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3(3-0)

                           (3) วิชาโทสาขาเคมี
     วทคม213  เคมีวิเคราะห์ 2 3(3-0)
     วทคม313  วิธีวิเคราะห์ทางเคมีสมัยใหม่ 3(3-0)
     วทคม334  เทอร์โมไดนามิกส์เคมี 3(3-0)
     วทคม361  พอลิเมอร์เบื้องต้น 3(3-0)
     วทคม412  เรื่องพิเศษในเคมีวิเคราะห์ 1 2(2-0)
     วทคม424  เคมีของสารธรรมชาติ 2(2-0)
     วทคม451  เคมีอุตสาหกรรม 2(2-0)

                           (4) วิชาโทสาขาชีววิทยา
     วทชว209  พันธุศาสตร์และการเจริญพัฒนาในสิ่งมีชีวิต 4(4-0)
     วทชว307  วิทยาศาสตรสิ่งแวดล้อม 3(3-0)
     วทชว316  ชีววิทยาระดับเซลล์ 3(3-0)
     วทชว395  อนุกรมวิธานของพืช 3(2-3)
     วทชว420  กีฏวิทยาทั่วไป 2(2-3)
     วทชว463  การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ 4(3-3)
     วทชว464  นิเวศวิทยาป่าไม้เขตร้อน 3(2-3)

                           (5) วิชาโทสาขาพฤกษศาสตร์
     วทพศ261  พฤกษศาสตร์เศรษฐกิจ 2(2-0)
     วทพศ286  พฤกษศาสตร์ทั่วไป 3(3-0)
     วทพศ287  ปฏิบัติการพฤกษศาสตร์ทั่วไป 1(0-3)
     วทพศ301  หลักพฤกษอนุกรมวิธาน 4(3-3)
     วทพศ303  สัณฐานวิทยาพืช 3(2-3)
     วทพศ331  นิเวศวิทยาของพืช 3(2-3)
     วทพศ412  เมตาบอลิซึมของพืช 2(2-0)
     วทชว464  นิเวศวิทยาป่าไม้เขตร้อน 3(2-3)

                3.3 วิชาเลือกเสรี
                     ให้เลือกเรียนรายวิชาต่อไปนี้ หรือรายวิชาอื่นๆ ตามที่ภาควิชากำหนด เพิ่มเติมภายหลังไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
     วทคพ101  การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1 3(3-0)
     วทภษ141  ภาษาฝรั่งเศสเบื้องต้น 1 3(2-2)
     วทภษ142  ภาษาฝรั่งเศสเบื้องต้น 2 3(2-2)
     วทภษ161  ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น 1 3(2-2)
     วทภษ162  ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น 2 3(2-2)
     วทภษ171  ภาษาจีน 1 3(2-2)
     วทภษ172  ภาษาจีน 2 3(2-2)
     วทภษ173  ภาษาจีน 3 3(2-2)
     วทภษ251  ภาษาเยอรมันเพื่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1 3(2-2)
     วทภษ252  ภาษาเยอรมันเพื่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 3(2-2)
     วทภษ402  ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจ 2(2-0)
          4. ความหมายของเลขประจำวิชา
                (ก) ตัวอักษร 4 หลักคือ xxxx มีความหมายดังนี้
                      ตัวอักษร 2 ตัวแรก เป็นอักษรย่อของคณะ/สถาบันที่รับผิดชอบจัดการเรียนการสอน
    จก (MG)    หมายถึง วิทยาลัยการจัดการ
    วศ (MS)    หมายถึง วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
    สค,สม (SH)    หมายถึง คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
                      ตัวอักษร 2 ตัวหลัง เป็นอักษรย่อของสาขาวิชาที่รับผิดชอบจัดการเรียนการสอน
    ชค (BC)    หมายถึง ชีวเคมี (Biochemistry)
    ชว (BI)    หมายถึง ชีววิทยา (Biology)
    คณ (MA)    หมายถึง คณิตศาสตร์ (Mathematics)
    คม (CH)    หมายถึง เคมี (Chemistry)
    คพ (CS)    หมายถึง คอมพิวเตอร์ (Computer Science)
    ทช (BT)    หมายถึง เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
    มน (HU)    หมายถึง มนุษยศาสตร์ (Humanities)
    ภษ (LG)    หมายถึง ภาษาต่างประเทศ (Language)
    ฟส (PY)    หมายถึง ฟิสิกส์ (Physics)
    สค (SS)    หมายถึง สังคมศาสตร์ (Social Science)
    สว (ID)    หมายถึง หลายสาขา (Interdisciplinary)
    ศษ (ED)    หมายถึง พลศึกษา (Physical Education)
    วก (AG)    หมายถึง วิทยาศาสตร์การเกษตร (Agricultural Science)
                (ข) ตัวเลข 3 หลักหลัง คือ xxx มีความหมายดังนี้
                      ตัวเลขตัวแรก เป็น ระดับชั้นปีของนักศึกษา
                      ตัวเลขตัวกลาง เป็น อักษรย่อของวิชาด้านต่าง ๆ ดังนี้
    0 หมายถึง ศัตรูพืช / อื่นๆ 1 หมายถึง พืช
    2 หมายถึง สัตว์ 3 หมายถึง ดิน
    4 หมายถึง พืชสัตว์ 5 หมายถึง หลังการเก็บเกี่ยว/แปรรูป
    6 หมายถึง ฝึกงาน 7 หมายถึง เทคโนโลยีชีวภาพ
    8 หมายถึง สัมมนา 9 หมายถึง โครงการพิเศษ / การฝึกอาชีพ
    ติดตามเรื่องนี้
    เก็บเข้าคอลเล็กชัน

    นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    อีบุ๊ก ดูทั้งหมด

    loading
    กำลังโหลด...

    ความคิดเห็น

    ×