ภาษาบาลี - ภาษาบาลี นิยาย ภาษาบาลี : Dek-D.com - Writer

    ภาษาบาลี

    ผู้เข้าชมรวม

    1,304

    ผู้เข้าชมเดือนนี้

    0

    ผู้เข้าชมรวม


    1.3K

    ความคิดเห็น


    2

    คนติดตาม


    1
    เรื่องสั้น
    อัปเดตล่าสุด :  15 ก.พ. 50 / 20:31 น.


    ข้อมูลเบื้องต้นของเรื่องนี้
    ตั้งค่าการอ่าน

    ค่าเริ่มต้น

    • เลื่อนอัตโนมัติ

        ข้อสังเกตลักษณะของภาษาบาลี มีดังนี้
             1.
      พยัญชนะ ภาษาบาลีมี 33 รูป สันสกฤตมี 35 รูป (เพิ่ม ) คือ

       

      แถวที่ 1

      แถวที่ 2

      แถวที่ 3

      แถวที่ 4

      แถวที่ 5

      วรรค กะ
      วรรค จะ
      วรรค ฎะ
      วรรค ตะ
      วรรค ปะ





















      เศษวรรค

                                                                                       

              ภาษาบาลีมีหลักเกณฑ์การใช้ตัวสะกด ตัวตามที่แน่นอนคือ พยัญชนะที่ จะเป็นตัวสะกดได้ คือ พยัญชนะในแถวที่ 1, 3 และ 5 เท่านั้น โดยมีหลัก เกณฑ์ดังนี้
             
      . พยัญชนะแถวที่ 1 สะกด พยัญชนะแถวที่ 1 หรือ 2 เป็นตัวตาม เช่น วักะ (ไต) ปัจั อั อัระ อิ สมุาน หัถ์ บุ ฯลฯ
             
      . พยัญชนะแถวที่ 3 สะกด พยัญชนะแถวที่ 1 หรือ 2 เป็นตัวตาม เช่น อัคี สมั สัพัญญู พยัฆ์ อัาสัย ยุธ์ อัาส (คำซ้ำ) ฯลฯ
             
      . พยัญชนะแถวที่ 5 สะกด พยัญชนะทุกตัวในวรรคเดียวกันเป็นตัวตามได้ เช่น สั สัาร สั ฆ์ กั เบ สัาติ สัาน ภัฑ์ ขัธ์ วั ธิ ฯลฯ
             
      . ถ้าตัวสะกดอยู่ในเศษวรรค เช่น จะใช้ตัวสะกดตัวตามตัวเดียวกัน เช่น อัยิกา (ย่า , ยาย) ปัยิกา (ย่าทวด , ยายทวด) อั (ผู้เป็นเจ้า , ผู้เป็นใหญ่) บัลังก์ มัลิกา (ดอกมะลิ) อัสุชล มัสุ (หนวด) ประภั ฯลฯ

       2.สระ ภาษาบาลีมีสระ 8 รูป คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ( สันสกฤต มี 14 รูป โดยเพิ่ม ไอ เอา ฤา ฦา )
             
      ข้อแตกต่างระหว่าง ภาษาบาลี และ สันสกฤต สรุปได้ดังนี้

      ภาษาบาลี

      ภาษาสันสกฤต

      1.

      พยัญชนะ มี 33 ตัว

      2.

      สระมี 8 ตัว คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ

      3.

      ตัวสะกดตัวตามมีกฎเกณฑ์แน่นอน

      4.

      ไม่ใช้คำควบกล้ำ เช่น ปทุม เขต
      .

      5.

      ไม่ใช้ รร ( เรผะ) แต่จะเขียนเรียงพยางค์ เช่น ภริยา จริยา

      6.

      นิยมใช้ ในที่สันสกฤตใช้ สถ เช่น ฐาน ฐิต ฐิติ ฐาปนา

      7.

      นิยมใช้ ในที่สันสกฤตใช้ สถ เช่น ถิร ถาวร ถูป ถล ถูล

      8.

      นิยมใช้ ในที่สันสกฤตใช้ กษ เช่น ขณะ ขมา เขต

      9. .

      นิยมใช้ ในที่สันสกฤตใช้ เช่น กีฬา จุฬา โสฬส

      1.

      พยัญชนะมี 35 ตัว ( เพิ่ม )

      2.

      สระมี 14 ตัว ( เพิ่ม ไอ เอา ฤา ฦา )

      3.

      ตัวสะกดตัวตามไม่มีหลักตายตัวเหมือนบาลี

      4.

      มีคำควบกล้ำใช้เป็นพยัญชนะต้นและตัวสะกด เช่น ะทุม ตร จั

      5.

      นิยมใช้ รร เช่น ภรรยา จรรยา
      .

      6.

      นิยมใช้ สถ ในที่บาลีใช้ เช่น สถาน สถิต สถิติ สถาปนา

      7.

      นิยมใช้ สถ ในที่บาลีใช้ เช่น สถิร สถาวร สถูป สถล สถุล

      8.

      นิยมใช้ กษ ในที่บาลีใช้ เช่น กษณะ กษมา เกษตร

      9. .

      นิยมใช้ ในที่ภาษาบาลีใช้ เช่น กรีฑา จุฑา โษฑศ

      ข้อสังเกต คำที่มาจากภาษาบาลี สันสกฤต จะแตกต่างจากคำที่มาจากภาษาอื่นๆ คือ กับ สามารถใช้แทนที่กันได้โดยความหมายไม่เปลี่ยนแปลง เช่น สุวรรณ สุพรรณ , รวี รพี , วัชรา พัชรา , วร พร , วนิดา พนิดา , วิสุทธิ์ พิสุทธิ์ , มาณว มาณพ ฯลฯ

      ชนิดของคำในภาษาบาลี

      ถ้าแบ่งตามลักษณะการแจกรูป มี 3 ชนิด

             1. ศัพท์ที่ต้องแจกด้วยวิภัตติ์นาม ได้แก่

             . นามนาม (noun)

                     . สัพพนาม (pronoun)

                     . คุณนาม (adjective)

                     .กริยากิตก์ (participle) บางชนิด

                     3 กลุ่มแรกเรียกว่า นามศัพท (nominal stem)

             2. ศัพท์ที่ต้องแจกด้วยวิภัตติ์อาขยาต เรียกว่า กริยาอาขยาต           โดยปกติได้แก่กริยาแท้ (finite verb) ในประโยค แจกจากธาตุ (root)

             3. ศัพท์ที่ไม่ต้องแจกวิภัตติ์ เรียกว่า อัพยยศัพท์ (indeclinable) ได้แก่

            . อุปสรรค (prefix)

            . ปัจจัย (suffix) 

            . นิบาต (particl)

            . กริยากิตก์บางชนิด

      ประโยคในภาษาบาลี

      อาจประกอบด้วยกริยาตัวเดียวเวลาแปลต้องเติมสรรพนามที่เหมาะสมกับบุรุษและพจน์ของกริยา แต่โดยปกติโครงสร้างประโยคภาษาบาลีคือ

      ประธาน + กรรม + กริยา (SOV)

      เสียงในภาษาสันสกฤต

      อักษรโฆษะ (surd) 13 ตัว ได้แก่

      1.  พยัญชนะตัวที่ 1, 2 ของแต่ละวรรค

      2.  พยัญชนะอูษมัน (sibilant) ได้แก่ ś, sÚ, s

      อักษรโฆษะ (sonant) ได้แก่

      1.  สระทั้งหมด

      2.  พยัญชนะตัวที่ 3, 4, 5 ของแต่ละวรรค

      3.  y, r, l, v, h, ( lÚ )

      เครื่องหมายแทนเสียง: mÚ มีเสียงโฆษะ hÚ มีเสียงอโฆษะ   

      พยางค์ 

       1. พยางค์คุรุ (heavy syllable) ได้แก่พยางค์ที่มีคุณสมบัติตามข้อก. หรือ ข.

                    ก. มีสระเสียงยาว หรือสระ e, āi, o, āu

                        ข. มีสระเสียงสั้นแต่มีพยัญชนะซ้อนหรือพยัญชนะสังโยค

                        (samyuktavyañjana) ตามหลัง

      2. พยางค์ลฆุ (light syllable) ได้แก่พยางค์ที่มีสระเสียงสั้นและไม่มีพยัญชนะสังโยคตามหลัง (มีพยัญชนะตามหลังตัวเดียวได้)

      สระ 3 ขั้นในภาษาสันสกฤต

      ขั้นปกติ (zero grade)      a    ā     i    ī    u    ū    rÚ    ŕÚ    lÚ

                              l   l     \ /    \  /    \  /    l

      ขั้นคุณ (guna)               a    ā        e        o         ar      al

                                         \  /      l       l       l      l

      ขั้นพฤทธิ (vrÚddhi)             ā               āi         ā        ā      āl

      ประโยคในภาษาสันสกฤต

      อาจประกอบด้วยกริยาตัวเดียวเวลาแปลต้องเติมสรรพนามที่เหมาะสมกับบุรุษและพจน์ของกริยา แต่โดยปกติโครงสร้างประโยคภาษาสันสกฤตคือ

      ประธาน + กรรม + กริยา (SOV) เหมือนกับในภาษาบาลี

      การแจกวิภัตติ์(วิภักติ์)อาขยาต(Conjugation of Verbs)

      มีวิธีสร้างคล้ายคลึงกับในภาษาบาลี และต้องคำนึงถึงสิ่งต่างๆ เหมือนกับในภาษาบาลี แต่ต่างกันเล็กน้อย

                        1. กาล (tense) [และมาลา (mood)]ในภาษาสันสกฤตแบ่งกาลเป็นระบบใหญ่ๆ เหมือนภาษาบาลี คือ ปรัตยุตบันกาล (present system) อดีตกาล (past system) และอนาคตกาล (future system) แต่ละระบบแจกได้หลายแบบเช่นกัน

                        2. วาจก (voice) ในภาษาสันสกฤตแบ่งอย่างกว้างๆ เป็น 3 แบบ ได้แก่ประโยคกรรตฤ (active) ประโยคกรรม (passive) และประโยค ภาวะ (impersonal passive) แต่ละชนิดแบ่งย่อยออกไปอีกได้ตามรูปกริยา

                       3. พจน์ ในภาษาสันสกฤตมี 3 พจน์ ได้แก่ เอกพจน์ หรือเอกวจนะ (singular) ทวิพจน์ หรือ ทวิวจนะ (dual) และพหูพจน์ หรือพหุวจนะ (plural)

                        4. บรุษมี 3 บรุษ ได้แก่ ประถมบุรุษ (third person) มัธยมบุรุษ (second person) และ อุดมบุรุษ (first person)

      การแจกกริยาปรัตยุตบันกาล วรรตมานาวิภักติ์ ปรัสไมบท (Present Indicative Active)

      ชุดวิภัตติ์ (วิภักติ์) อาขยาตเป็นดังนี้

       

      Singular

      Dual

      Plural

      first person

      mi

      vas

      mas

      second person

      si

      thas

      tha

      third person

      ti

      tas

      anti

      ธาตุในภาษาสันสกฤตมีทั้งหมด 10 หมวด

      หมวดที่ 1 หมวด ภู (ภวาทิคณะ) (bhū-class / Unaccented a-class)

      หมวดที่ 2 หมวด อทÚ (อทาทิคณะ) (ad-class / Root Class)

      หมวดที่ 3 หมวด หุ (หวาทิคณะ) (hu-class / Reduplicative Class)

      หมวดที่ 4 หมวด ทีวÚ (ทีวาทิคณะ) (Unaccented ya-class)

      หมวดที่ 5 หมวด สุ (สวาทิคณะ) (su-class / nu-class)

      หมวดที่ 6 หมวด ตุทÚ (ตุทาทิคณะ) (tud-class / Accented á-class)

      หมวดที่ 7 หมวด รุธÚ (รุธาทิคณะ) (rudh-class / Nasal Class)

      หมวดที่ 8 หมวด ตนÚ (ตนาทิคณะ) (tan-class / o-class)

      หมวดที่ 9 หมวด กÚรี (กรยาทิคณะ) (krī-class / nā-class)

      หมวดที่ 10 หมวด จุรÚ (จุราทิคณะ) (cur-class / áya-class)

      การแจกธาตุหมวดที่ 1 (bhū-class / Unaccented a-class)

      การแจกธาตุหมวดที่ 1 (bhū-class / Unaccented a-class)

      วิกรณ์คือ -a- มีขั้นตอนคือ

      1. ลงคุณให้แก่ธาตุ (เปลี่ยนสระของธาตุให้เป็นขั้นคุณ)

                ก. ขั้นคุณของ a เป็น a

                ข. ถ้าธาตุเป็นพยางค์คุรุที่ลงท้ายด้วยพยัญชนะ สระไม่เปลี่ยน

      2. ลงวิกรณปรัตยัย (vikaranÚapratyaya) หรือวิกรณ์ จะได้เค้ากริยา

      ปัจจุบันกาล (present verbal stem)

      3. แจกวิภัตติ์อาขยาต (personal ending) เหมือนภาษาบาลี

      jīv มีชีวิตอยู่

      jīv-

      jīv + a-

      jīva + ti

      jīvati

      nind ตำหนิ

      nind-

      nind + a-

      ninda + ti

      nindati

      budh รู้

      bodh-

      bodh + a-

      bodha + ti

      bodhati

      vad พูด

      vad-

      vad + a-

      vada + ti

      vadati

      smrÚ ระลึกถึง

      smar-

      smar + a-

      smara + ti

      smarati

      ตัวอย่าง pac หุงต้ม

       

      Singular

      Dual

      Plural

      first person

      pacāmi

      pacāvas

      pacāmas

      second person

      pacasi

      pacathas

      pacatha

      third person

      pacati

      pacatas

      pacanti

      1. เมื่อลงคุณให้แก่ธาตุแล้ว ได้สระ e / o ไม่มีพยัญชนะตาม ก่อนลงวิกรณ์ให้เปลี่ยน  e > ay, o > av

      ji ชนะ

      je-

      jay + a-

      jaya + ti

      jayati

      dru วิ่ง

      dro-

      drav + a-

      drava + ti

      dravati

      nī นำ

      ne-

      nay + a-

      naya + ti

      nayati

      bhū กลายเป็น

      bho-

      bhav + a-

      bhava + ti

      bhavati

      2. ธาตุที่ไม่แจกตามกฎ

      gam ไป

      gacch-

      gacch + a-

      gaccha + ti

      gacchati

      guh ซ่อน

      gūh-

      gūh + a-

      gūha + ti

      gūhati

      yam จัดให้

      yacch-

      yacch + a-

      yaccha + ti

      yacchati

      sad นั่ง

      sīd-

      sīd + a-

      sīda + ti

      sīdati

      3. ธาตุที่มีการซ้อนพยางค์ (reduplication)

      pā ดื่ม

      pib-

      pib + a-

      piba + ti

      pibati

       

      sthā ยืน

      tisÚtÚh-

      tisÚtÚh + a-

      tisÚtÚha + ti

      tisÚtÚhati

       

       

      การแจกธาตุหมวดที่ 6 (tud-class / Accented á-class)

      วิกรณ์คือ -á- มี accent (แต่ไม่ต้องเขียน accent)

         1. ธาตุทั่วไปไม่ต้องลงคุณเหมือนหมวด 1 แต่ลงวิกรณ์แล้วแจกวิภัตติ์         ได้เลย 

      krs   ไถ

      krÚsÚ -

      krÚsÚ + a-

      krÚsÚa + ti

      krÚsÚati

      ksip   ขว้าง

      ksþip-

      ksþip + a-

      ksþipa + ti

      ksþipati

      diś   ชี้

      diś-

      diś + a-

      diśa + ti

      diśati

      viś   เข้าไป

      viś-

      viś + a-

      viśa + ti

      viśati

      srj     ปล่อยไป

      srþj-

      srþj + a-

      srþja + ti

      srþjati

      sprś   แตะ

      sprþś -

      sprÚś + a-

      sprþśa + ti

      sprþśati

      2. ธาตุที่ลงท้ายด้วย rฺ บางตัว เปลี่ยน rฺ เป็น ir

      kr   กระจาย

      kir-

      kir + a-

      kira + ti

      kirati

      3. ธาตุที่ลงท้ายด้วย i, u, ū อาจแทรก y / v ตามลำดับ

      ksI   พักอยู่

      ksþi-

      ksþi + a-

      ksþiya + ti

      ksþiyati

      dhū   สั่น

      dhu-

      dhu + a-

      dhuva + ti

      dhuvati *

      su   ไป

      su-

      su + a-

      suva + ti

      suvati

      หมายเหตุ: dhū อาจแจกเป็น dhunoti ตามแบบหมวดที่ 5 ก็ได้

               4.ธาตุหลายตัวที่ลงท้ายด้วยพยัญชนะต้องแทรกอนุนาสิก

      ลงหน้าพยัญชนะท้ายธาตุ     

      krþt   ตัด

      krþnt-

      krþnt + a-

      krþnta + ti

      krþntati

       

      muc   ปล่อย

      muñc-

      muñc + a-

      muñca + ti

      muñcati

       

      lip   ฉาบทา

      limp-

      limp + a-

      limpa + ti

      limpati

       

      sic   ประพรม

      siñc-

      siñc + a-

      siñca + ti

      siñcati

       

       

      การแจกธาตุหมวดที่ 4 (dīv-class / Unaccented ya-class)

      วิกรณ์คือ -ya- มีวิธีสร้างคือ root + ya + ending

               1. ธาตุทั่วไปไม่เปลี่ยนรูป ลงวิกรณ์ได้เลย

      kup โกรธ

      kup-

      kup + ya-

      kupya + ti

      kupyati

      naś พินาศ

      naś-

      naś + ya-

      naśya + ti

      naśyati

      2.ธาตุบางธาตุนักไวยากรณ์ตะวันตกกับนักไวยากรณ์อินเดียเรียกไม่ตรงกัน      

      gā / gāi ร้องเพลง

      gā-

      gā + ya-

      gāya + ti

      gāyati

      dhā / dhye ดูดนม

      dha-

      dha + ya-

      dhaya + ti

      dhayati

      hū, hvā / hve เรียก

      hva-

      hva + ya-

      hvaya + ti

      hvayati

                3. ธาตุบางธาตุใช้แจกเพียงบางกาล เช่น drś และ paś เห็น, มองดู ในระบบปัจจุบันกาลแจกด้วย paś แต่อนาคตกาลและอดีตกาลบางรูปแจก ด้วย drś

      paś เห็น

      paś-

      paś + ya-

      paśya + ti

      paśyati

               4. ธาตุที่ลงท้ายด้วย am และเสียงอื่นบางเสียงยืด a เป็น ā ก่อนลงวิกรณ์  

      tam   เสียใจ

      tām-

      tām + ya-

      tāmya + ti

      tāmyati

      bhram   วนเวียน

      bhrām-

      bhrām + ya-

      bhrāmya + ti

      bhrāmyati

      mad   มึนเมา

      mād-

      mād + ya-

      mādya + ti

      mādyati

                5. ธาตุหมวดที่ 1 บางธาตุได้แนวเทียบจากข้อ 4 ข้างต้นด้วย

      kram ก้าว

      krām-

      krām + a-

      krāma + ti

      krāmati

      ā√cam ล้าง

      ācām-

      ācām + a-

      ācāma + ti

      ācāmati

                6.ธาตุยกเว้นที่เปลี่ยนสระกลางจาก ya เป็น i

      vyadh แทง

      vidh-

      vidh + ya-

      vidhya + ti

      vidhyati

       

       

      การแจกธาตุหมวดที่ 10 (cur-class / áya-class) และกริยาที่สัมพันธ์กัน

      ในภาษาสันสกฤต มีกริยาศัพท์ 3 ประเภทที่แจกเหมือนกัน

                         1. ธาตุหมวดที่ 10

                         2. กริยาการีตหรือกริยาเหตุกัตตุวาจก (Causative Verb)

                         3. กริยานามธาตุ (Denominative Verb)

            กริยาเหล่านี้ลง -aya- ปัจจัย (ถ้าเป็นหมวดที่ 10 เรียกว่าวิกรณ์นอกนั้น ไม่เรียก) อาจมี accent หรือไม่มีตรงกันก็ไม่สำคัญ 

       

      การแจกกริยาทั้ง 3 ประเภทโดยทั่วไป

      เปลี่ยนสระของธาตุให้เป็นขั้นคุณหรือพฤทธิ แล้วลง -aya- ปัจจัย ส่วนการเปลี่ยนสระต้นธาตุ กลางธาตุ หรือท้ายธาตุมีหลักคือ

      1.ธาตุมีตัวสะกด มีสระ i, u, rฺ หน้าตัวสะกด สระดังกล่าวเปลี่ยนเป็นขั้นคุณ

      cur   ขโมย

      cor-

      cor + aya-

      coraya + ti

      corayati

      tul   ชั่ง

      tol-

      tol + aya-

      tolaya + ti

      tolayati

      vid  สอน

      ved-

      ved + aya-

      vedaya + ti

      vedayati

      2. ธาตุมีตัวสะกด แต่สระข้างหน้าเป็นเสียงยาว คงเดิม

      pīdÚ เบียดเบียน

      pīdÚ -

      pīdÚ + aya-

      pīdÚaya + ti

      pīdÚayati

      pūj บูชา

      pūj-

      pūj + aya-

      pūjaya + ti

      pūjayati

      3. ธาตุลงท้ายด้วยสระ ไม่มีตัวสะกด เปลี่ยนสระเป็นขั้นพฤทธิ

      dhr  ทรงไว้

      dhār-

      dhār + aya-

      dhāraya + ti

      dhārayati

      bhī   กลัว

      bhāi-

      bhāi + aya-

      bhāyaya + ti

      bhāyayati *

      หมายเหตุ: bhī ไม่ใช่หมวดที่ 10 แต่บางครั้งแจกเหมือนหมวดที่ 10

      4. สระ a ต้นหรือกลางธาตุบางทีคงเดิม บางทียืดออก

      ksal   ล้าง

      ksÚāl

      ksÚāl + aya-

      ksÚālaya + ti

      ksÚālayati

      jan   เกิด

      jan-

      jan + aya-

      janaya + ti

      janayati *

      tadÚ   ตี

      tādÚ-

      tādÚ + aya-

      tādÚaya + ti

      tādÚayati

       

      กริยาการีต หรือกริยาเหตุกัตตุวาจก (Causative Verb)

      ใช้เมื่อประธานของประโยคสั่งหรือใช้ให้ผู้อื่นกระทำกริยา แปลว่า ยังให้…(ทำ) เทียบภาษาอังกฤษ to make somebody do something / to cause somebody to do something หรือไม่ก็เปลี่ยนความหมายของธาตุจาก อกรรม (Intransitive) เป็นสกรรม (Transitive)                       

                Root

                                  Active

                               Causative

      kr  ทำ

      karo-

      karoti

      kāraya-

      kārayati

      gam   ไป

      gaccha-

      gacchati

      gamaya-

      gamayati

      jval   ส่องแสง

      jvala-

      jvalati

      jvalaya-/

      jvālaya-

      jvalayati /

      jvālayati

      pac   หุงต้ม

      paca-

      pacati

      pācaya-

      pācayati

      pat   ตก, บิน

      pata-

      patati

      pātaya-

      pātayati

       

      กริยานามธาตุ (Denominative Verb)

      ได้แก่กริยาที่ดัดแปลงมาจากนามศัพท์ คือนำนามศัพท์มาแจกเป็นกริยา

      kathā      เรื่องเล่า

      kathaya-

      kathayati          เล่า

      gana m     หมู่, พวก

      ganaya-

      ganayati          นับ

      danda m / nt    การลงโทษ 

      dandaya-

      dandayati         ลงโทษ

      การแจกวิภัตติ์ (วิภักติ์) นาม (Declension of Nouns)

       

      ในการแจกต้องคำนึงถึงสิ่งต่างๆ เหมือนกับในภาษาบาลี แต่ต่างกันบ้าง

           สันสกฤตมี 3 ลิงค์ได้แก่ ปุลลิงค์ (masculine) สตรีลิงค์ (feminine) และ นปุงสกลิงค์ (neuter)

           และมี 3 พจน์ได้แก่ เอกพจน์หรือเอกวจนะ(singular)ทวิพจน์หรือทวิวจนะ(dual) และพหูพจน์ หรือพหุวจนะ (plural)

      ส่วนการันต์ของนามศัพท์ สันสกฤตมีได้ทั้งสระการันต์และพยัญชนะการันต์

      การแจกนามนาม อ-การันต์ ปุลลิงค์

      ตัวอย่าง deva เทวะ

       

      Singular

      Dual

      Plural

      วิภัตติ์ที่ 1

      devas

      devāu

      devās

      วิภัตติ์ที่ 2

      devam

      devāu

      devān

      วิภัตติ์ที่ 3

      devena

      devābhyam

      devāis

      วิภัตติ์ที่ 4

      devasya

      devābhyam

      devebhyas

      วิภัตติ์ที่ 5

      devāt

      devābhyam

      devebhyas

      วิภัตติ์ที่ 6

      devasya

      devayos

      devānām

      วิภัตติ์ที่ 7

      deve

      devayos

      devesÚu

      อาลปนะ

      deva

      devāu

      devās

       

      การแจกวิภัตติ์ อ-การันต์ นปุงสกลิงค์

       

      ตัวอย่าง phala ผลไม้

       

      Singular

      Dual

      Plural

       

      วิภัตติ์ที่ 1

      phalam

      phale

      phalāni

       

      วิภัตติ์ที่ 2

      phalam

      phale

      phalāni

       

      วิภัตติ์ที่ 3-7 (oblique cases) เหมือนปุลลิงค์

       

      อาลปนะ

      phala

      phale

      phalāni

       

       

      การแจกนามนาม อิ-การันต์ ปุลลิงค์

      ตัวอย่าง agni ไฟ

       

      Singular

      Dual

      Plural

       

      วิภัตติ์ที่ 1

      agnis

      agnī

      agnayas

       

      วิภัตติ์ที่ 2

      agnim

      agnī

      agnīn

       

      วิภัตติ์ที่ 3

      agninā

      agnibhyām

      agnibhis

       

      วิภัตติ์ที่ 4

      agnaye

      agnibhyām

      agnibhyas

       

      วิภัตติ์ที่ 5

      agnes

      agnibhyām

      agnibhyas

       

      วิภัตติ์ที่ 6

      agnes

      agnyos

      agnīnām

       

      วิภัตติ์ที่ 7

      agnāu

      agnyos

      agnisþu

       

      อาลปนะ

      agne

      agnī

      agnayas

       

       

      การแจกนามนาม อิ-การันต์ นปุงสกลิงค์

      ตัวอย่าง vāri น้ำ

       

      Singular

      Dual

      Plural

       

      วิภัตติ์ที่ 1

      vāri

      vārinþī

      vārīni

       

      วิภัตติ์ที่ 2

      vāri

      vārinþī

      vārīni

       

      วิภัตติ์ที่ 3

      vārinþā

      vāribhyām

      vāribhis

       

      วิภัตติ์ที่ 4

      vārinþe

      vāribhyām

      vāribhyas

       

      วิภัตติ์ที่ 5

      vārinþas

      vāribhyām

      vāribhyas

       

      วิภัตติ์ที่ 6

      vārinþas

      vārinþos

      vārīnþām

       

      วิภัตติ์ที่ 7

      vārinþi

      vārinþos

      vārisþu

       

      อาลปนะ

      vāri / vāre

      vārinþī

      vārīnþi

       

       

      การแจกนามนาม อุ-การันต์ ปุลลิงค์

      ตัวอย่าง bhānu ดวงตะวัน

       

      Singular

      Dual

      Plural

      วิภัตติ์ที่ 1

      bhānus

      bhānū

      bhānavas

      วิภัตติ์ที่ 2

      bhānum

      bhānū

      bhānūn

      วิภัตติ์ที่ 3

      bhānunā

      bhānubhyām

      bhānubhis

      วิภัตติ์ที่ 4

      bhānave

      bhānubhyām

      bhānubhyas

      วิภัตติ์ที่ 5

      bhānos

      bhānubhyām

      bhānubhyas

      วิภัตติ์ที่ 6

      bhānos

      bhānvos

      bhānūnām

      วิภัตติ์ที่ 7

      bhānāu

      bhānvos

      bhānusþu

      อาลปนะ

      bhāno

      bhānū

      bhānavas

       

      การแจกนามนาม อุ-การันต์ นปุงสกลิงค์

       

      ตัวอย่าง madhu น้ำผึ้ง

       

      Singular

      Dual

      Plural

      วิภัตติ์ที่ 1

      madhu

      madhunī

      madhūni

      วิภัตติ์ที่ 2

      madhu

      madhunī

      madhūni

      วิภัตติ์ที่ 3

      madhunā

      madhubhyām

      madhubhis

      วิภัตติ์ที่ 4

      madhune

      madhubhyām

      madhubhyas

      วิภัตติ์ที่ 5

      madhunas

      madhubhyām

      madhubhyas

      วิภัตติ์ที่ 6

      madhunas

      madhunos

      madhūnām

      วิภัตติ์ที่ 7

      madhuni

      madhunos

      madhusþu

      อาลปนะ

      madhu / madho

      madhunī

      madhūni

       

      นิยายที่ผู้อ่านนิยมอ่านต่อ ดูทั้งหมด

      loading
      กำลังโหลด...

      คำนิยม Top

      ยังไม่มีคำนิยมของเรื่องนี้

      คำนิยมล่าสุด

      ยังไม่มีคำนิยมของเรื่องนี้

      ความคิดเห็น

      ×